นิทานพื้นบ้านมีลักษณะเฉพาะที่เห็นเด่นชัด คือ
เป็นเรื่องเล่าที่มีการดำเนินเรื่องอย่างง่ายๆโครงเรื่องไม่ซับซ้อน
วิธีการที่เล่าก็เป็นไปอย่างง่ายๆตรงไปตรงมา
มักจะเริ่มเรื่องโดยการกล่าวถึงตัวละครสำคัญของเรื่อง
ซึ่งอาจจะเป็นรุ่นพ่อ-แม่ของพระเอกหรือนางเอก
แล้วดำเนินเรื่องไปตามเวลาปฏิทิน ตัวละครเอกพบอุปสรรคปัญหา
แล้วก็ฟันฝ่าอุปสรรคหรือแก้ปัญหาลุล่วงไปจนจบเรื่อง
ซึ่งมักจะจบแบบมีความสุข หรือสุขนาฏกรรม ถ้าเป็นนิทานคติ ก็มักจะจบลงว่า
“นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า…..”
ถ้าเป็นนิทานชาดกก็จะบอกว่าตัวละครสำคัญของเรื่องในชาติต่อไป
ไปเกิดเป็นใครบ้าง ถ้าเป็นนิทานปริศนาก็จะจบลงด้วยประโยค คำถาม
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน กุหลาบ มัลลิกะมาส (2518, หน้า 99-100)
ได้สรุปไว้ดังนี้
เจือ สตะเวทิน (2517, หน้า 16) ให้คำอธิบายลักษณะสำคัญของนิทานพื้นเมือง ไว้ดังนี้
โดยนัยดังกล่าวจะเห็นได้ว่าลักษณะที่สำคัญที่สุดของนิทานพื้นบ้านคือเป็นเรื่องเล่าที่สืบทอดกันมาด้วยปากและไม่ทราบว่าผู้ใดแต่ง
(ภาพจาก http://mail.thaigoodview.com/files/u1290/632.gif)
อ่านเพิ่มเติมลิ้งค์ด้านล่าง หมวดตำนานไทย
เก่งเกินครู |
คนภาคเหนือ |
โจรสลัดแห่งตะรุเตา|
นางนากพระโขนง |
นิทานภาคใต้ |
นิทาน |
นิทาน-นิทานตลกหยาบโลน
ว่าด้วยเรื่องนิทานพื้นบ้าน |
นิทานพื้นบ้าน-กระต่ายกับหอยขม |
นิทานพื้นบ้าน-กำเนิดปลาโลมา |
นิทานพื้นบ้านไทยทรงดำ-มะหุดแสนเปากับท้าวแสนปม |
บั้งไฟพญานาค |
ประวัติวังหน้า |
ปริศนาคำทาย|
เพลงไทย |
เพลงไทยเดิม |
พระราชวังเดิม |
พิษหอยมรณะ |
เมขลา-รามสูร |
วรรณกรรมใหม่-ตราบจนสิ้นกรรม |
สรรพลี้หวน |
สังเขป ประวัติกรุงศรีอยุธยา
|
ฮวงจุ้ย |
หน้าหลัก