นำไปใส่แกงป่าและผัดเผ็ด เหง้าปรุงรสน้ำพริกแกง ทำให้กลิ่นหอม
ทางสมุนไพร ใช้เหง้าต้มน้ำดื่ม เป็นยาขับลม บำรุงธาตุ
ลักษณะทั่วไปเป็นพืชที่ปลูกตามบ้านเรือนทั่วไป และบ้านหมอแผนโบราณ ปลูกได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง ถ้าอยู่กลางแจ้งทรงพุ่มจะเตี้ยกว่าปลูกในร่ม
ต้นขิงจะแผ่ขยายแตกกออกไป เหง้ามีกลิ่นหอมต่างจากพืชสกุลเดียวกัน ลำต้น ค่อนข้างแบนสีเขียวอมม่วง สูงราว 40-80 เซ็นติเมตร แตกกอห่าง 10-20 เซ็นติเมตร ใบเรียงสลับ แผ่นใบบาง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย แตกใบตั้งแต่โคนต้นถึงปลายยอด ขนาดใบกว้าง 3-4 เซ็นติเมตร ยาว 25-35 เซ็นติเมตร
ดอก ออกจากเหง้าใต้ดินเป็นกระจุกสีม่วงแดง ขนาดประมาณ 3 เซ็นติเมตร ไม่มีก้านช่อดอกเมื่อดอกบานมีสีขาวอมชมพู
ผล รูปร่างกลมขนาดประมาณ 2 เซ็นติเมตร
(สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2543:30)
อ่านเพิ่มเติมลิ้งค์ด้านล่าง หมวดตำรับไทย
ขนมทองเอก |
ข้าวตังหน้าตั้ง |
ส้มตำ |
ผักพื้นบ้าน :
ผักพื้นบ้าน : กระเจี๊ยบมอญ |
กระถินไทย |
ขิงเถื่อน |
กระดอม |
กระโดน |
เอาะหลาม |
ตำลึง |
บุกแดง |
ชะพลู |
ติ้วขาว |
อาหารชาววัง :
ที่มาของอาหารชาววัง |
เมี่ยงลาว |
หมี่กรอบ |
สาคูไส้ปลา |
ปลาทูต้มเค็มอย่างเนื้อแข็งก้างเปื่อย |
สะเต๊ะลือ |
น้ำพริกลูกหนำเลี้ยบ |
ยำถั่วพู |
น้ำพริกมะขามสดผัด |
แกงเป็ดสดพริกไทยอ่อน |
แสร้งว่ากุ้ง |
น้ำพริกปลาทูตำ |
แกงเหลือง |
เมี่ยงอยาก |
แกงหมูตะพาบน้ำ |
พริกขิงเครื่องทอด |
ยำไก่อย่างเต่า |
กะปิคั่ว |
ข้าวปิ้ง |
ทอดมันสิงคโปร์ |
หมูอบน้ำแดง |
แกงรัญจวน |
พะแนงเนื้อ |
หรุ่ม |
หลนปลาร้า |
น้ำพริกปลากรอบ |
น้ำพริกมะพร้าว เนื้อเค็มสด |
เปาะเปี๊ยะทอด |
พริกขิงตามเสด็จ |
น้ำพริกมะดันผัด |
แกงไตปลา |
ยำทะวาย |
น้ำพริกลงเรือ |
แกงปลาดุกอย่างปลาไหล |
ข้าวต้มกะทิ |
หน้าหลัก