ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่ง
คำว่า
คำว่า
พานบายศรี
บายศรี จะเย็บด้วยใบตอง ทำเป็น 3 ชั้น มีข้าว สิ่งของที่สำคัญอื่นๆอีกประกอบด้วย ดอกบัว เทียนชัย น้ำมะพร้าวอ่อน แว่นเทียน 3 อัน เทียน 9 เล่ม ด้ายสายสิญจน์ บายศรี ในที่นี้ก็คือ สังคมที่ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันต้องยึดมั่นด้วยคุณธรรม 3 ประการ คือ บายศรี 3 ชั้น หมายถึง
ดอกบัว หมายถึง บัว 4 เหล่า แต่ในที่นี้หมายถึงบัวประเภทที่ 4 ที่พ้นจากผิวน้ำจะชูก้านและดอกพร้อมที่จะขยายกลีบบานเมื่อพระอาทิตย์ส่องแสงในวันรุ่งขึ้น
เทียนชัย หมายถึง แสงสว่างทางปัญญา
น้ำมะพร้าวอ่อน หมายถึง น้ำใจบริสุทธิ์
แว่นเทียน 3 อัน หมายถึง ภพทั้ง 3 ได้แก่ กายภพ รูปภพ และอรูปภพ
เทียน 9 เล่ม หมายถึง ไฟ 3 กอง คือ
(เทียนที่ติดไว้กับแว่นเทียนอันละ 3 เล่ม)
ด้ายสายสิญจน์ หมายถึง ห่วงแห่งความผูกพัน
การประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญของชาวอีสาน
พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับนักศึกษาใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
รวบรวมจากพิธีบายศรีต้อนรับนักศึกษาใหม่ สถาบันราชภัฏธนบุรี ใน วันที่ 2 กรกฎาคม 2543
มาลัย นิลพงษ์. “สารน่ารู้” พิกุล-จัน. ๕(๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓) หน้า ๕
ภาพพิธีบายศรีสู่ขวัญจาก
:
http://kanchanapisek.co.th/kp8/kkn/kkn302.html
http://www.everykids.com/worldnews/bysri/bysri.html
นำลงวันที่ 18 ต.ค 2543
อ่านเพิ่มเติมลิ้งค์ด้านล่าง หมวดธรรมเนียมไทย
ลอยกระทง |
ประเพณีทำบุญ |
วันมาฆบูชา |
การถวายสังฆทาน |
ประเพณีสงกรานต์ |
ประเพณีแห่ผีตาโขน |
ประเพณีแต่งงาน |
พิธีบายศรีสู่ขวัญ |
วันพืชมงคลและพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ |
ฮีตสิบสอง-คลองสิบสี่ |
พิธีทำขวัญเดือน
(โกนผมไฟ) |
พิธีโกนผมจุก |
หน้าหลัก